กินไก่มาก เสี่ยงเป็น “โรคเกาต์” จริงหรือไม่?
งานเลี้ยงไหนๆอาหารที่ขาดกันไม่ได้ก็จะมีอาหารที่ทำจาก ไก่ อยู่ด้วยเสมอ ซึ่งมันก็ง่ายในการทำเมนูต่างๆ หลายๆคนก็อาจจะไม่ค่อยชอบเมนูจากไก่มากนักเพราะมีความเชื่อว่ากินแล้วจะเป็น “เกาต์” นั่นเอง จริงๆ แล้วทานไก่มากๆ เสี่ยงโรคเกาต์จริงหรือไม่ เรามีคำตอบค่ะ
ผศ.พญ.อัจฉรา กุลวิสุทธิ์ ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล เขียนบทความเกี่ยวกับโรคเกาต์เอาไว้ ดังนี้ค่ะ
โรคเกาต์ คืออะไร?
โรคเกาต์ เป็นโรคข้อซึ่งเกิดจากภาวะกรดยูริกในเลือดสูงเป็นระยะเวลานานจนตกตะกอน ทำให้เกิดโรคข้ออักเสบ ซึ่งโรคนี้รักษาหายขาดได้ หากได้รับการดูแลรักษาที่ถูกต้องเหมาะสมและต่อเนื่อง
อาการของโรคเกาต์
อาการของโรค แบ่งเป็น 3 ระยะ คือ
- ระยะข้ออักเสบเฉียบพลัน มักเกิดที่ข้อหัวแม่เท้า หรือข้อเท้า ข้อปวดบวมแดงรุนแรงใน 24 ชั่วโมงแรก หากไม่รักษาสามารถหายได้เองใน 5-7 วัน และส่วนใหญ่จะเป็นซ้ำ ๆ
- ระยะไม่มีอาการ หลังจากข้ออักเสบหาย ผู้ป่วยจะไม่มีอาการใด ๆ
- ระยะเรื้อรัง หลังจากมีอาการซ้ำ 3-5 ปี ข้ออักเสบจะมีจำนวนมากขึ้น ลามมาที่ข้ออื่น ๆ และเกิดก้อนจากผลึกของกรดยูริกขนาดโตขึ้นเรื่อย ๆ อาจแตกเห็นเป็นผงขาวนวลคล้ายชอล์ก
กรดยูริก คืออะไร?
กรดยูริก ส่วนใหญ่ร่างกายสร้างเอง มีเพียงส่วนน้อยไม่ถึงร้อยละ 20 ที่ได้รับจากอาหาร คนปกติค่าในเลือดจะอยู่ในระดับไม่เกิน 7 มิลลิกรัม/เดซิลิตรในเพศชายและหญิงวัยหลังหมดประจำเดือน ส่วนหญิงในวัยที่ยังมีประจำเดือนจะมีระดับไม่เกิน 6 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร ค่าที่สูงเกินกว่าระดับดังกล่าวถือว่ามีภาวะกรดยูริกสูง
ภาวะกรดยูริกสูงนี้สัมพันธ์กับภาวะอ้วน, พันธุกรรมในครอบครัว, ยาบางชนิด เช่น ยาขับปัสสาวะ และยาแอสไพริน, โรคร่วม เช่น ความดันโลหิตสูง, อาหารที่มีกรดยูริกสูง และเหล้าเบียร์ ดังนั้น ควรลดน้ำหนักตัว, งดเหล้า-เบียร์ และ ลดปริมาณอาหารที่มีกรดยูริกสูงลง
คนที่มีระดับกรดยูริกสูงจนทำให้เกิดโรคมีเพียงร้อยละ 10-20 เท่านั้น โดยเป็นโรคเกาต์ และ/หรือ เป็นนิ่วในไต กลุ่มผู้ป่วยที่มีอาการเท่านั้นที่จำเป็นต้องได้รับการรักษา
อาหารที่ทำให้มีกรดยูริกสูง ได้แก่
- เหล้าและเบียร์
- เครื่องในสัตว์ เช่น ตับ, ไต, สมอง
- อาหารทะเล
- อาหารที่มีไขมันสูง เช่น ขนมเค้ก ขนมปัง น้ำหวาน น้ำผลไม้ที่มีรสหวาน
ส่วนสัตว์ปีก และ สัตว์เนื้อแดงที่มีปริมาณไขมันน้อย ไม่จำเป็นต้องงด ยกเว้นในผู้ป่วยรายที่มีประวัติว่ามีการกำเริบชัดเจนหลังรับประทานอาหารดังกล่าว สำหรับ อาหารมังสวิรัติและผักส่วนใหญ่มีปริมาณกรดยูริกค่อนข้างน้อย สามารถรับประทานได้ตามปรกติ
ยารักษาโรคเกาต์
ยาที่ใช้รักษามี 2 กลุ่มใหญ่ ได้แก่
1. ยาควบคุมอาการข้ออักเสบ เพื่อป้องกันการกำเริบของข้ออักเสบ ได้แก่ ยาโคลชิซีน
2. ยาต้านการอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ ควรให้ในระยะสั้นจนข้ออักเสบหายดี โดยแพทย์จะพิจารณาให้ในขนาดที่เหมาะสมในผู้ป่วยแต่ละราย เนื่องจากอาจมีข้อห้ามในผู้ป่วยบางราย ยาในกลุ่มนี้โดยเฉพาะยาโคลชิซีน สามารถให้ในขนาดต่ำเพื่อลดและควบคุมการกำเริบของข้ออักเสบในระยะยาวจนกว่าจะคุมระดับกรดยูริกในเลือดได้
ยาควบคุมระดับกรดยูริก ประกอบด้วย ยาลดการสร้างกรดยูริก ที่สำคัญได้แก่ ยาอัลโลพิวรินอล และยาเพิ่มการขับกรดยูริกทางไต ได้แก่ ยาโปรเบ็นนาซิด, ยาเบนโบรมาโรน และ ยาซัลฟินไพราโซน แพทย์จะเริ่มยากลุ่มนี้เมื่อข้ออักเสบหายดี และ ปรับขนาดยาจนคลุมระดับกรดยูริกในเลือดได้ในระดับ 5-6 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร และ ให้ยาต่อเนื่องไปเรื่อย ๆ การใช้ยาจึงควรใช้อย่างระมัดระวังและเลือกใช้เฉพาะรายโดยแพทย์เฉพาะทาง เนื่องจากมีผลข้างเคียงและอาจมีผลกระทบต่อระดับยาบางชนิดได้
อย่างไรก็ตาม การรักษาตั้งแต่ระยะแรกของโรคจะได้ผลการรักษาดีมาก หากเริ่มรักษาช้า ต้องอาศัยระยะเวลาอย่างน้อย 6 เดือนถึง 1 ปีเพื่อให้ได้ผลดีและก้อนยุบลงข้ออักเสบจะหายได้และก้อนตะปุ่มตะป่ำจะยุบราบเป็นปกติได้
อาการของโรค แบ่งเป็น 3 ระยะ คือ
- ระยะข้ออักเสบเฉียบพลัน มักเกิดที่ข้อหัวแม่เท้า หรือข้อเท้า ข้อปวดบวมแดงรุนแรงใน 24 ชั่วโมงแรก หากไม่รักษาสามารถหายได้เองใน 5-7 วัน และส่วนใหญ่จะเป็นซ้ำ ๆ
- ระยะไม่มีอาการ หลังจากข้ออักเสบหาย ผู้ป่วยจะไม่มีอาการใด ๆ
- ระยะเรื้อรัง หลังจากมีอาการซ้ำ 3-5 ปี ข้ออักเสบจะมีจำนวนมากขึ้น ลามมาที่ข้ออื่น ๆ และเกิดก้อนจากผลึกของกรดยูริกขนาดโตขึ้นเรื่อย ๆ อาจแตกเห็นเป็นผงขาวนวลคล้ายชอล์ก
กรดยูริก คืออะไร?
กรดยูริก ส่วนใหญ่ร่างกายสร้างเอง มีเพียงส่วนน้อยไม่ถึงร้อยละ 20 ที่ได้รับจากอาหาร คนปกติค่าในเลือดจะอยู่ในระดับไม่เกิน 7 มิลลิกรัม/เดซิลิตรในเพศชายและหญิงวัยหลังหมดประจำเดือน ส่วนหญิงในวัยที่ยังมีประจำเดือนจะมีระดับไม่เกิน 6 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร ค่าที่สูงเกินกว่าระดับดังกล่าวถือว่ามีภาวะกรดยูริกสูง
ภาวะกรดยูริกสูงนี้สัมพันธ์กับภาวะอ้วน, พันธุกรรมในครอบครัว, ยาบางชนิด เช่น ยาขับปัสสาวะ และยาแอสไพริน, โรคร่วม เช่น ความดันโลหิตสูง, อาหารที่มีกรดยูริกสูง และเหล้าเบียร์ ดังนั้น ควรลดน้ำหนักตัว, งดเหล้า-เบียร์ และ ลดปริมาณอาหารที่มีกรดยูริกสูงลง
คนที่มีระดับกรดยูริกสูงจนทำให้เกิดโรคมีเพียงร้อยละ 10-20 เท่านั้น โดยเป็นโรคเกาต์ และ/หรือ เป็นนิ่วในไต กลุ่มผู้ป่วยที่มีอาการเท่านั้นที่จำเป็นต้องได้รับการรักษา
อาหารที่ทำให้มีกรดยูริกสูง ได้แก่
- เหล้าและเบียร์
- เครื่องในสัตว์ เช่น ตับ, ไต, สมอง
- อาหารทะเล
- อาหารที่มีไขมันสูง เช่น ขนมเค้ก ขนมปัง น้ำหวาน น้ำผลไม้ที่มีรสหวาน
ส่วนสัตว์ปีก และ สัตว์เนื้อแดงที่มีปริมาณไขมันน้อย ไม่จำเป็นต้องงด ยกเว้นในผู้ป่วยรายที่มีประวัติว่ามีการกำเริบชัดเจนหลังรับประทานอาหารดังกล่าว สำหรับ อาหารมังสวิรัติและผักส่วนใหญ่มีปริมาณกรดยูริกค่อนข้างน้อย สามารถรับประทานได้ตามปรกติ
ยารักษาโรคเกาต์
ยาที่ใช้รักษามี 2 กลุ่มใหญ่ ได้แก่
1. ยาควบคุมอาการข้ออักเสบ เพื่อป้องกันการกำเริบของข้ออักเสบ ได้แก่ ยาโคลชิซีน
2. ยาต้านการอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ ควรให้ในระยะสั้นจนข้ออักเสบหายดี โดยแพทย์จะพิจารณาให้ในขนาดที่เหมาะสมในผู้ป่วยแต่ละราย เนื่องจากอาจมีข้อห้ามในผู้ป่วยบางราย ยาในกลุ่มนี้โดยเฉพาะยาโคลชิซีน สามารถให้ในขนาดต่ำเพื่อลดและควบคุมการกำเริบของข้ออักเสบในระยะยาวจนกว่าจะคุมระดับกรดยูริกในเลือดได้
ยาควบคุมระดับกรดยูริก ประกอบด้วย ยาลดการสร้างกรดยูริก ที่สำคัญได้แก่ ยาอัลโลพิวรินอล และยาเพิ่มการขับกรดยูริกทางไต ได้แก่ ยาโปรเบ็นนาซิด, ยาเบนโบรมาโรน และ ยาซัลฟินไพราโซน แพทย์จะเริ่มยากลุ่มนี้เมื่อข้ออักเสบหายดี และ ปรับขนาดยาจนคลุมระดับกรดยูริกในเลือดได้ในระดับ 5-6 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร และ ให้ยาต่อเนื่องไปเรื่อย ๆ การใช้ยาจึงควรใช้อย่างระมัดระวังและเลือกใช้เฉพาะรายโดยแพทย์เฉพาะทาง เนื่องจากมีผลข้างเคียงและอาจมีผลกระทบต่อระดับยาบางชนิดได้
อย่างไรก็ตาม การรักษาตั้งแต่ระยะแรกของโรคจะได้ผลการรักษาดีมาก หากเริ่มรักษาช้า ต้องอาศัยระยะเวลาอย่างน้อย 6 เดือนถึง 1 ปีเพื่อให้ได้ผลดีและก้อนยุบลงข้ออักเสบจะหายได้และก้อนตะปุ่มตะป่ำจะยุบราบเป็นปกติได้
แต่เดี๋ยวก่อนยังมีทางเลือกอีกทาง จะเห็นได้ว่า ทุกวันนี้มีการรักษาจากแพทย์แผนทางเลือกควบคู่กันไปด้วย โดยใช้ยาสมุนไพรบำบัด ซึ่งไม่มีผลข้างเคียงเหมือนยาแผนปัจุบัน เช่น เช่น ยาน้ำสมุนไพรโหย่งเหิง หรือ ยาเม็ดสมุนไพรโหย่งหมิง ซึ่งมีตัวยาสมุนไพร เช่น ตังถั่งเฉ้าปัก,เต็กย้ง(เขากวาง),เก๊ากี๊,โต่วต๋ง และอีกกว่า กว่า 30 ชนิด ที่ช่วยปรับสภาพสมดุลของร่างกาย โดยสมุนไพรธรรมชาติ และขับสารพิษออกจากร่างกาย ช่วยบำบัดรักษาโรคแห่งความเสื่อมต่างๆ
ข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้ป่วยมีดังนี้
- พบแพทย์แพทย์อย่างสม่ำเสมอ เพื่อติดตามผลการรักษา
- หลีกเลี่ยงสิ่งกระตุ้น ได้แก่ การหยุดยาเอง/รับประทานยาไม่สม่ำเสมอ, การดื่มเหล้าเบียร์, ในรายที่อาหารที่มีกรดยูริกสูงบางชนิดที่กระตุ้นการกำเริบของโรคควรหลีกเลี่ยงอาหารดังกล่าว, การนวด/บีบข้อ เป็นต้น
- รักษาโรคร่วมและดูแลสุขภาพ ที่สำคัญได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง, เบาหวาน, ไขมันสูง, โรคหัวใจ, นิ่วไต, โรคอ้วน, และควรงดสูบบุหรี่
- ไม่ห้ามอาหารใด ๆ ยกเว้นในบางรายที่มีข้ออักเสบ เมื่อรับประทานอาหารบางชนิด แนะนำหลีกเลี่ยงอาหารดังกล่าวชั่วคราว แต่เมื่อคุมระดับกรดยูริกได้แล้ว จะรับประทานอาหารได้ทุกประเภท
ทีนี้ก็เข้าใจตรงกันนะ คราวหน้าหยิบไก่ทอดทานได้เลยไม่ต้องกังวลอีกแล้วค่ะ เพียงแต่อย่าทานมากเกินไปก็แล้วกันเนอะ
เครดิต: คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
ข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้ป่วยมีดังนี้
- พบแพทย์แพทย์อย่างสม่ำเสมอ เพื่อติดตามผลการรักษา
- หลีกเลี่ยงสิ่งกระตุ้น ได้แก่ การหยุดยาเอง/รับประทานยาไม่สม่ำเสมอ, การดื่มเหล้าเบียร์, ในรายที่อาหารที่มีกรดยูริกสูงบางชนิดที่กระตุ้นการกำเริบของโรคควรหลีกเลี่ยงอาหารดังกล่าว, การนวด/บีบข้อ เป็นต้น
- รักษาโรคร่วมและดูแลสุขภาพ ที่สำคัญได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง, เบาหวาน, ไขมันสูง, โรคหัวใจ, นิ่วไต, โรคอ้วน, และควรงดสูบบุหรี่
- ไม่ห้ามอาหารใด ๆ ยกเว้นในบางรายที่มีข้ออักเสบ เมื่อรับประทานอาหารบางชนิด แนะนำหลีกเลี่ยงอาหารดังกล่าวชั่วคราว แต่เมื่อคุมระดับกรดยูริกได้แล้ว จะรับประทานอาหารได้ทุกประเภท
ทีนี้ก็เข้าใจตรงกันนะ คราวหน้าหยิบไก่ทอดทานได้เลยไม่ต้องกังวลอีกแล้วค่ะ เพียงแต่อย่าทานมากเกินไปก็แล้วกันเนอะ
เครดิต: คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
Tachi's Titanium Knockout Kit for Heavy Duty
ตอบลบTachi's Titanium titanium vs ceramic Knockout titanium quartz crystal Kit for Heavy Duty Action 2019 ford edge titanium for sale Figure MK-1621 Model II. thinkpad x1 titanium Brand, Tachi. Features:. titanium grades T-Series, $14.99 · Out of stock